ไม่พบผลการค้นหา
The Toppick - สิงคโปร์ ขยายเพดานอายุเกษียณเป็น 65 ปี - Short Clip
The Toppick - ญี่ปุ่นตกขบวน 'สังคมไร้เงินสด' แม้เป็นผู้นำเทคโนโลยี - Short Clip
The Toppick - เบอร์เกอร์คิงเพิ่มเมนู 'เนื้อสังเคราะห์' ทุกสาขาในสหรัฐฯ - Short Clip
The Toppick - 'ธุรกิจการบิน' ตัวปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เติบโตเร็วที่สุด - Short Clip
The Toppick - หนี้เสียของจีน เพิ่มขึ้น 10% ภายในเวลา 6 เดือน - Short Clip
The Toppick - เกาหลีเมินญี่ปุ่น แห่เที่ยวไทย-ไต้หวัน-เวียดนาม หลังพิพาทการค้า - Short Clip
The Toppick - ส่องนโยบาย 'อาเบะโนมิกส์' ขึ้นภาษีการขายทั่วญี่ปุ่น - Short Clip
The Toppick - สิงคโปร์ หนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต เอื้อสูงวัยทำงานยุคดิจิทัลได้ - Short Clip
The Toppick - รู้จัก 'หอยโทริไก' ที่เกียวโต แหล่งเลี้ยงหนึ่งเดียวในญี่ปุ่น - Short Clip
The Toppick - จีนปล่อยเนื้อหมูสำรอง หลังอหิวาต์หมูทำขาดตลาด - Short Clip
The Toppick - 'หลอดกระดาษ' แมคโดนัลด์รีไซเคิลไม่ได้ตามคาด - Short Clip
World Trend - วิจัยชี้ ‘ฉลาดเกินไป’ ทำให้หาคู่เดตยาก - Short Clip
The Toppick - ไฮเปอร์ลูปเวอร์จินแซงเทสลา อินเดียจัดเป็นโครงสร้างพื้นฐานไม่ต่างจากรถไฟ - Short Clip
The Toppick - รถยนต์ไฟฟ้า รักษ์โลกหรือแค่ไลฟ์สไตล์ - Short Clip
The Toppick - โลกร้อนอาจทำให้คนกัมพูชาอดตาย - Short Clip
The Toppick - 'ซัมซุง' ประกาศปิดโรงงานผลิตทุกแห่งในจีนสิ้นเดือนนี้ - Short Clip
The Toppick - วงการ 'STEM' ไม่มีพื้นที่สำหรับเพศหญิง - Short Clip
The Toppick - ชม 'ปลาฉนาก' ตัวเดียวในประเทศไทย ได้แล้วที่ กทม. วันนี้ - Short Clip
The Toppick - 'บริษัทพลังงานฟอสซิล' พาเหรดล้มละลาย - FULL EP.
The Toppick - กลุ่มธุรกิจโอดได้รับผลกระทบจากการประท้วงฮ่องกง - Short Clip
The Toppick - สาหร่ายสีแดง ช่วยลดการปล่อยก๊าซมีเทนจากวัว - Short Clip
Aug 20, 2019 01:48

นักวิทยาศาสตร์เตรียมเปิดฟาร์มเพาะสาหร่ายสีแดง เพื่อทำไปเป็นอาหารให้แก่วัว เพราะสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซมีเทนจากวัวได้

นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Sunshine Coast ของออสเตรเลียค้นพบการนำสาหร่ายสีแดงที่ชื่อ Asparagopsis taxiformis ผสมในอาหารของวัวจะช่วยลดการปล่อยก๊าซมีเทนจากสัตว์ได้ถึง 99 เปอร์เซ็นต์ โดยในสาหร่ายสีแดงจะมีสารเคมที่จะช่วยลดจุลินทรีย์ในท้องของสัตว์ ซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดก๊าซมีเทน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิโคลัส พอลกล่าวว่า หากมีการเพาะเลี้ยงปลูกสาหร่ายสีแดงที่มีปริทมาณที่มากพอ มันจะสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของออสิตรเลียได้ถึง 10 เปอร์เซ็นต์ โดยนำสาหร่ายสีแดงชนิดแห้งไปผสมกับอาหารในปริมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ของอาหารที่ให้วัวกินก็จะสามารถช่วยยั้งยังการปล่อยก๊าซมีเทนได้อย่างสมบูรณ์

นอกจากนี้ทีมนักวิจัยยังเดินหาค้าหาสายพันธุ์ของสาหร่ายสีแดงที่จะสามารถนำมาเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์ที่ทำให้ได้จำนวนสาหร่ายสีแดงปริมาณมากได้ ซึ่งที่ผ่านมาพวกเรายังคงเก้บสาหร่ายสีแดงที่ได้จากธรรมชาติและยังไม่มีการเพาะเลี้ยงอย่างจริงจัง

การปล่อยก๊าซมีแทนของวัวและสัตว์เคี้ยวเอื้องอื่นๆคิดเป็น 37 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับอัตราส่วนการปล่อยก๊าซมีเทนของกิจกรรมจากมนุษย์ โดยวัวนั้นมีอัตราการปล่อยก๊าซมีเทนถึง 65% จากวัวทั่วโลกที่มีมากกว่ากว่า 1,500 ล้านตัวในปัจจุบัน 

ขณะที่กิจกรรมและพฤติกรรมการกินของวัว ทำให้วัวต้องเรอและผายลมเพื่อระบายก๊าซออกจากร่างกายทั้งวัน โดยประมาณ 90% เป็นการเรอ และที่เหลืออีก 10% เป็นผายลม ซึ่งทำให้วัวตัวหนึ่งปล่อยก๊าซมีเทนออกมาถึง 200-500 ลิตรต่อวัน 

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
185Article
76559Video
0Blog