ไม่พบผลการค้นหา
World Trend - นักผดุงครรภ์ใช้ AR ฝึกทำคลอด - Short Clip
World Trend - ผู้หญิงไม่สวยมีแนวโน้มจะนอกใจแฟนสูงกว่า - Short Clip
World Trend - นักวิทย์ฯ พัฒนาขนมปังขาวให้ดีเท่าโฮลวีต - Short Clip
World Trend - นักวิจัยคิดวิธีชาร์จมือถือด้วยการยิงเลเซอร์ - Short Clip
World Trend - ​วิจัยชี้ แมลงสาบเริ่มมีภูมิคุ้มกันยาฆ่าแมลง - Short Clip
World Trend - การดื่มน้ำหวานอาจเร่งให้เนื้อร้ายโตเร็ว - Short Clip
World Trend - วิกฤติเวเนซุเอลากำลังทำร้าย 'วิทยาการ' - Short Clip
World Trend - ​'แชร์พื้นที่อาศัย' เทรนด์ฮอตใหม่ในซิลิคอนแวลลีย์ - Short Clip
World Trend - ​'ผู้พิทักษ์ชื่อเสียง' บริการออนไลน์สุดฮอตของยุคนี้ ​- Short Clip
World Trend - ชาวอเมริกันเสพข่าวโซเชียลมากกว่าสิ่งพิมพ์เป็นครั้งแรก - Short Clip
World Trend - ​ญี่ปุ่นเร่งปรับตัวเข้าหาโครงสร้างสังคมใหม่ - Short Clip
World Trend - อัตราการเพิ่มประชากรจีนจะถดถอยในปี 2030 - Short Clip
World Trend - Vero ขึ้นแท่นโซเชียลมีเดียมาแรงใน App Store - Short Clip
World Trend - การสูญทรัพย์ครั้งใหญ่ช่วงวัยกลางคนอาจทำให้ตายไว - Short Clip
World Trend - ญี่ปุ่นห้ามโดรนบินใกล้สนามแข่งโอลิมปิก - Short Clip
World Trend - เกาหลีใต้จำกัดจำนวนไอดอล 'หน้าเหมือนกัน' - Short Clip
World Trend - WHO เผยเมืองในอินเดียอากาศสกปรกที่สุดในโลก - Short Clip
World Trend - วิจัยชี้ ติดกีฬามีความสุขกว่าติดมือถือ - Short Clip
World Trend - สวีเดนจะบรรลุเป้าพลังงานสะอาดในปีนี้ - Short Clip
World Trend - ดิสนีย์โดนฟ้อง จ่ายค่าจ้างชายหญิงไม่เท่าเทียม - Short Clip
World Trend - นักวิทย์ฯ แนะใช้พิราบตรวจสอบคุณภาพอากาศ - Short Clip
Feb 19, 2018 10:50

นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเสนอแนะวิธีตรวจสอบคุณภาพอากาศโดยการใช้สัตว์เป็นดัชนีบ่งชี้ พร้อมระบุว่านกพิราบเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด เพราะอยู่ใกล้แหล่งชุมชน ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของมลพิษ

รีเบกกา คาลิซี-รอดริเกซ นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐฯ เสนอให้มีการศึกษานกพิราบ ในฐานะดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศ เพราะนกพิราบเป็นสัตว์ที่มีกลไกการทำงานของร่างกายและลักษณะเนื้อเยื่อคล้ายมนุษย์ ตลอดจนมีถิ่นอาศัยในชุมชนเมือง ใกล้แหล่งบริโภคและแหล่งของเสียของมนุษย์ จึงได้รับมลพิษจากดิน น้ำ และอากาศจากแหล่งเดียวกับมนุษย์ด้วย

นอกจากนี้ ประชากรนกพิราบในแต่ละเมืองใหญ่ยังมีจำนวนมาก เช่น ในกรุงลอนดอน ของอังกฤษ ที่ปัจจุบันมีอยู่ราว 18 ล้านตัว ทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถเลือกใช้และเก็บข้อมูลได้อย่างแม่นยำ โดยจุดเด่นอีกประการหนึ่งของนกพิราบคือการใช้ชีวิตอยู่ภายในรัศมีพื้นที่แคบ ๆ ทำให้สามารถระบุปริมาณสารพิษในร่างกาย เทียบกับพิกัดสถานที่ได้ง่ายยิ่งขึ้น

โดยการใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศไม่เพียงแต่จะช่วยระบุพิกัดของแหล่งมลพิษได้เท่านั้น แต่ยังสามารถบอกได้ว่าสารพิษเหล่านั้นทำปฏิกิริยาอย่างไรกับร่างกายของสิ่งมีชีวิตได้

อีกตัวอย่างที่นักวิจัยยกขึ้นมาอ้างถึงก็คือ การตรวจเลือดนกพิราบในนครนิวยอร์กระหว่างปี 2010 ถึง 2015 แล้วพบว่ามีสารตะกั่วสูง ทั้งที่เป็นสารที่ถูกแบนจากสายการผลิตไปแล้ว แต่ยังคงพบอยู่ในย่านที่มีของเล่นหรือเครื่องเล่นเด็ก และแหล่งผลิตเฟอร์นิเจอร์รายย่อยในชุมชน

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
185Article
76559Video
0Blog