ไม่พบผลการค้นหา
80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย ''ประวัติศาสตร์ที่ถูกทำให้ลืม''
โอนอำนาจสู่ฝ่ายปกครอง ก้าวแรกปฏิรูประบบราชการ
80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย 'บทเรียนจากคณะราษฎร'
ตุลาการซ้ำเติมวิกฤติ
24 มิถุนากับคนรุ่นใหม่
"วังน้ำเขียวโมเดล" ปฏิรูปป่าอย่างยั่งยืน
3 ปี 10 เมษา เสื้อแดงได้อะไร
12 ปี กองทุนหมู่บ้าน 12 ปีการมีส่วนร่วม
ย้อนรอย 'แยกประเทศ'
เปิดวิสัยทัศน์ 'ดับไฟใต้' ของเลขาธิการอาเซียน
80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย "เสรีภาพสื่อ"
"สังคมไทย" โครงสร้างอำนาจที่ไม่เท่าเทียม
ผลสอบสลายชุมนุม พฤษภา’53 “เหมือนผัวเมียทะเลาะกัน”
''อำนาจรัฐล้มเหลวดับไฟใต้''
SML โครงการประชานิยมหรือพัฒนาชุมชน
ประชาธิปไตยแบบอำมาตย์ 'อย่าให้ประชาชนทนไม่ไหว'
'ความเป็นไทย' ในโลกแคบ
80 พรรษา มหาราชินี 'ศิลปาชีพไทยก้าวไกลสู่สากล'
ทางออกที่สาม?
ทางออกข้าวไทย พัฒนาอย่างไรให้ยั่งยืน ?
80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย "ปฐมบทรัฐธรรมนูญ"
Jun 30, 2012 09:52

รายการ Intelligence ประจำวันที่ 30 มิถุนายน 2555

 
 
"อำนาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย" นั่นคือประโยคสำคัญในมาตรา 1 มาตราแรกของ "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475" ซึ่งประกาศใช้ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 แม้ประโยคนี้จะไม่มีในรัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475 ซึ่งเป็นผลจากการ "ปรองดอง" ระหว่างคณะราษฎรกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ แต่เนื้อหาที่แจ่มชัดในรัฐธรรมนูญ 2475 ทั้ง 2 ฉบับ และฉบับที่ปรีดี พนมยงค์ แก้ไขใหม่ในปี 2489 คือคณะราษฎรได้เทิดสถาบันพระมหากษัตริย์ให้พ้นไปจากการเมืองการปกครอง เป็นองค์ประมุขที่เคารพสักการะ
 
 
แต่ฝ่ายตรงข้ามไม่ยินยอมให้เป็นเช่นนั้น เมื่อรัฐประหาร 2490 จึงเกิดรัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม เกิดอภิรัฐมนตรี ที่แปลงมาเป็นองคมนตรีในรัฐธรรมนูญ 2492 และยังให้พระมหากษัตริย์ทรงเลือกตั้งวุฒิสมาชิก
 
 
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ จะชี้ให้เห็นว่า เหตุใดนิติราษฎร์จึงเสนอให้การยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่ยึดเอารัฐธรรมนูญ 3 ฉบับแรก กับบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของรัฐธรรมนูญ 2540 เป็นต้นแบบ
Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
185Article
76559Video
0Blog