สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองคการสิทธิมนุษยชน ออกแถลงการณคัดคานการที่ สตช.ขอขยายระยะเวลาการบังคับใช พ.ร.บ.ทรมาน-อุมหาย ระบุดังนี้
ตามที่พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําใหบุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ซึ่งประกาศราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 และจะมีผลบังคับใชใ นวันที่ 22 กุมภาพันธ 2566 แตปรากฏวา ในวันที่ 6 มกราคม 2566 สํานักงานตํารวจแหงชาติไดทําหนังสือถึงรัฐมนตรีวาการ กระทรวงยุติธรรม ซึ่งเปนผูรักษาการตามพระราชบัญญัติฯ นี้ ขอเสนอความเห็นใหขยายเวลาการบังคับใช กฎหมายในหมวด 3 แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําใหบุคคลสูญ หาย พ.ศ. 2565 ออกไปกอน โดยใหเหตุผลวา เนื่องจากหนวยงานและเจาหนา ที่ที่เกี่ยวของไมม ีความพรอ ม ทั้งดานอุปกรณ ทักษะในการปฏิบัติและแนวทางปฏิบัติที่เปนมาตรฐานกลาง อันอาจกอใหเกิดผลรายตอ สังคม นั้น
สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองคการสิทธิมนุษยชนทาย แถลงการณนี้ ขอคัดคานการขอขยายระยะเวลาการบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการ ทรมานฯ ดังกลาว ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ดวยเหตุผลดังตอไปนี้
1. พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานฯมีบทบัญญัติสําคัญในการคุมสิทธิในชีวิตและ รางกาย อันเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนโดยในหมวด 3 ไดกําหนดมาตรการปองกันและ ปราบปรามการทรมานและอุมหาย เพื่อควบคุมและถวงดุลการใชอํานาจของเจาหนาที่ตํารวจ ยอม สงผลตอการปฏิรูปการทํางานของตํารวจอยางกวางขวาง เชน กําหนดวาในการตรวจคนจับกุม บุคคล เจาหนาที่จะตองติดกลองติดตามตัวเจาหนาท่ีหรือ Body Cam ซ่ึงนอกจากเพื่อการปองกัน ไมใหมีการซอมทรมานหรือการปฏิบัติโดยมิชอบแลว ยังเปนการควบคุมการตรวจ คน จับ ทําให ประชาชนไมถูกรังแก รีดไถ หรือการประพฤติโดยมิชอบของเจาหนาที่ ทําใหเจาหนาที่ตํารวจตอง ปฏิบัติตอประชาชนโดยสุภาพ เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย อีกทั้งในกรณที ่ีเจาหน้าที่จับกุมบุคคลใดแลว จะตองแจงใหหนวยงานอื่นคือ ฝายปกครองและอัยการทราบทันที พรอมทําบันทึกการ จับกุม สภาพเน้ือตัว รางกายของผูถูกจับ โดยละเอียด เพื่อใหครอบครัวหรือทนายความของผูถูกจับสามารถตรวจสอบได อันเปนการปองกันไมใหมีการทรมาน อุมหาย หรือการกระทําอื่นใดที่มี ลักษณะโหดราย ไรมนุษยธรรมหรือย่ํายีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูถูกจับ ใหอํานาจฝายปกครอง ดีเอสไอ และอัยการสอบสวนหรือตรวจสอบได นอกจากนี้ การใหผูที่เกี่ยวของรองใหศาลอาญาที่มีเขตอํานาจไตสวนโดยทันทีในกรณีที่มีการทรมาน การกระทําโหดราย ไรมนุษยธรรม หรือการย่ํายี ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การกระทําใหสูญหาย ดังนั้น พรบ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯ จะเปนหมุดหมายที่สําคัญในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการกระทําโดยมิชอบจาก เจาหนาที่บางคน และเปนจุดเริ่มตนของการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมชั้นตํารวจของประเทศ อัน จะเปนผลดีอยางยิ่งตอสังคมไทยยิ่งกวาผลรายดังที่ผูบัญชาการ สตช. กลาวอาง
2. พรบ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯเปนผลของความพยายามของทุกภาคสวนในสังคมไทย ทั้งภาคประชาสังคม วิชาการ และภาครัฐ โดยเฉพาะกระทรวงยุติธรรม และรัฐสภา โดยไดรับความ เห็นชอบโดยมติเอกฉันทจากสภาผูแทนราษฎร จนเปนที่ชื่นชมขององคการสหประชาชาติและ องคกรระหวางประเทศตางๆ ที่ติดตามวาเมื่อใดประเทศไทยจะมีกฎหมาย เพื่อใหประเทศไทย สามารถปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศในการปองกันและปราบปรามการทรมานและการอุม หายได ทั้งนี้ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2565 นายกรัฐมนตรีไดแสดงความยินดีที่สํานักงานขาหลวงใหญ เพื่อสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (UNOHCHR) ชื่นชมประเทศไทยที่ไดประกาศใช พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและอุมหาย ฯ นี้
3. การที่สํานักงานตํารวจแหงชาติ(สตช.)พยายามจะใหมีการเลื่อนการบังคับใชกฎหมายนี้ออกไป โดยอางวาหนวยงานที่เกี่ยวของยังไมพรอมทํางาน อุปกรณตางๆ ที่จะใชในการปฏิบัติงานยังมีไม พรอมนั้น เห็นวาเปนขออางที่ปราศจากเหตุผลอันสมควร ทั้งน้ีเพราะกฎหมายไดใหเวลาหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของ รวมทั้ง สตช. มีเวลาในการเตรียมความพรอมในการปฏิบัติตามกฎหมายหลาย เดือน และ ตัวแทนของ สตช. ในเวทีสาธารณะตางๆ โดยเฉพาะ รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ซึ่ง เปนตัวแทนสํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดใหคํารับรองและยืนยันกับคณะอนุกรรมาธิการศึกษาการ ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน ในคณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและ สิทธิมนุษยชน สภาผูแทนราษฎรและประชาชน เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2565 วา สํานักงานตํารวจ แหงชาติสามารถปฏิบัติตามกฎหมายฉบับนี้ไดแนนอน โดยไมมีปญหาแตประการใด อันถือวาคําชี้ แจงดังกลาวตอสภาผูแทนราษฎรยอมมีผลผูกพันกับสํานักงานตํารวจแหงชาติดวย
4. อนึ่ง พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯ เมื่อพระมหากษัตริยไดทรงลงพระปรมาภิไธยและ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ยอมมีผลผูกพันตอหนวยงานทุกหนวยงานของรัฐและประชาชน ความพยายามผลักดันใหเลื่อนการบังคับใชกฎหมายนี้ออกไปอีกยอมกระทําไมได ดวยเหตุนี้ การที่ สตช.จะเสนอใหคณะรัฐมนตรีออกเปนพระราชกําหนดเลื่อนการบังคับใชไปกอน ยอมขัดตอ รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 172 ที่กําหนดวาการออกพระราชกําหนดตองเปนไปเพื่อประโยชนความ ปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปดปอง ภัยพิบัติสาธารณะเทานั้น ซึ่งตองเปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนเรงดวนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได แตการที่ สตช. ขอเลื่อนการบังคับใช พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯ ออกไปยอมไมเขา เงื่อนไขที่จะสามารถกระทําไดโดยชอบดวยรัฐธรรมนูญ 2560 ดวยเหตุผลดังกลาว สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองคการสิทธิมนุษยชนทายแถลงการณนี้ จึงขอเรียกรองใหกระทรวงยุติธรรมทําความเขาใจกับสํานักงานตํารวจ แหงชาติโดยเรงดวนและจะตองไมดําเนินการใดอันจะมีผลใหเลื่อนการบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและ ปราบปรามการทรมานและการกระทําใหบุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ออกไป ตามที่สํานักงานตํารวจ แหงชาติเสนอ และขอใหนายกรัฐมนตรีในฐานะผูกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติดําเนินการใหมีการ บังคับใชกฎหมายฉบับนี้ตามกําหนดเพื่ออํานวยใหเปนไปตามหลักการสากลที่วารัฐมีพันธกรณีตามกฎหมาย ระหวางประเทศ ในการเคารพ (respect) ปกปอง(protect) และเติมเต็มใหการปฏิบัติสิทธิมนุษยชนเปน จริง(fulfill) ซึ่งจะเปนผลดีอยางยิ่งตอสังคมไทยตอไป
แถลง ณ วันที่ 12 มกราคม 2566
1. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)
2. มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CRCF)
3. กลุมด้วยใจ
4. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)
5. กลุมนอนไบนารีแหงประเทศไทย
6. คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.)
7. มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.)
8. เครือขายผูไดรับผลกระทบจากกฎหมายพิเศษ JASAD
9. เครือขายสิทธมิ นุษยชนปาตานี HAP
10. ศูนยสงเสริมสิทธิมนุษยชนภาคอีสาน (ศสอ.)
11. มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ
12.มูลนิธิสายเด็ก1387
13. มูลนิธิสถาบันเพื่อการรวิจัยและนวัตกรรมดานเอชไอวี
14. มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ (FAR)
15. คณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา 35
16. ศูนยทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (TLHR)
17. มูลนิธิส่งเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชนยชน (pro-rights)
18. มูลนิธิรักษเด็ก