ไม่พบผลการค้นหา
มองโลก มองไทย - ไทยกับวิกฤติผันผวนพลังงาน และมาตรการช่วยเหลือที่ช้าเกินไป - FULL EP.
มองโลก มองไทย - ตระกูลเศรษฐีไทยรวยระดับโลก 3 ตระกูลติด TOP20 เอเชีย - FULL EP.
มองโลก มองไทย - ช่องว่างดิจิทัล ความไม่เท่าเทียมในห้องเรียนออนไลน์ของไทย - Short Clip
มองโลก มองไทย - รัฐ-เอกชนไทยใช้กลยุทธ์ “ฟ้องปิดปาก” จนเคยชิน - Short Clip
มองโลก มองไทย - “ไทย” ขึ้นแท่นอันดับ 19 เสี่ยงเกิดการสังหารหมู่จากฝ่ายรัฐ - FULL EP.
มองโลก มองไทย - ครึ่งชีวิตของคนรุ่นใหม่ไทย อาจหายไปอย่างไร้พัฒนาการ  - FULL EP.
มองโลก มองไทย - นอร์เวย์ มีสัดส่วนประชากรใช้รถไฟฟ้ามากที่สุดในโลก - Short Clip
มองโลก มองไทย - โลกถูกควบคุมโดยอำนาจเผด็จการหลังโควิด - FULL EP.
มองโลก มองไทย - การผลิตพลังงานหมุนเวียนยังคงเพิ่มขึ้นในยุคโรคระบาด - Short Clip
มองโลก มองไทย -  มองสื่อเยอรมัน เทียบวงการสื่อไทย - FULL EP.
มองโลก มองไทย - ทั่วโลกหนุนผลิตและใช้รถยนต์ไฟฟ้า ส่วนประเทศไทยนั้น... - FULL EP.
มองโลก มองไทย - เศรษฐกิจโลกฟื้นแต่มีปัจจัยเสี่ยงจาก โอมิครอนและเงินเฟ้อ - FULL EP.
มองโลก มองไทย - รถยนต์ไฟฟ้าในไทย ราคาแพงอันดับต้นของโลก - Short Clip
มองโลก มองไทย - 10 ปี ‘ความมั่งคั่งไทย’ ลด 10 อันดับ - FULL EP.
มองโลก มองไทย - เกิดอะไรขึ้นกับเจ้าหน้าที่รัฐที่ถือปืนได้ของไทย?   - FULL EP.
มองโลก มองไทย - ประเทศไทยมีคนเหงากว่า 26 ล้านคน - Short Clip
มองโลก มองไทย - ต่างประเทศคุ้มครองนักกิจกรรม - Short Clip
มองโลก มองไทย - สมรสเท่าเทียมในไทยถูกจับตามองจากทั่วโลก - FULL EP.
มองโลก มองไทย - การยุบพรรคเกิดขึ้นมากในประเทศประชาธิปไตยไม่มั่นคง - FULL EP.
มองโลก มองไทย - อย่าลืมเขา! ชาวนาไทยยังจนคงที่-แบกหนี้บาน - FULL EP.
มองโลก มองไทย - 'ความปลอดภัยไซเบอร์ไทย' มีจริงไหม? - FULL EP.
Apr 23, 2023 00:31

รายการ มองโลก มองไทย ประจำวันที่ 23 เมษายน 2566

WHOSCALL รายงานประจำปี 65 เผยยอดสายมิจฉาชีพพุ่ง 165%

บริษัท Gogolook ผู้พัฒนาแอปพลิเคชั่น Whoscall เผยว่า ในปี 2565 คนไทยยังต้องรับสายจากมิจฉาชีพเพิ่มขึ้น 165% หรือ 17 ล้านครั้ง เมื่อเทียบกับปี 2564 ซึ่งอยู่ที่ 6.4 ล้านครั้ง รวมถึงมีจำนวนการรั่วไหลของเบอร์โทรศัพท์ในประเทศไทยกว่า 45% หรือ 13.5 ล้านเบอร์

นอกจากนี้ 7 ใน 10 ครั้งของข้อความ SMS ที่คนไทยได้รับเป็นข้อความสแปมและข้อความหลอกลวง หรือคิดเป็น 73% ของข้อความที่ได้รับทั้งหมด โดยที่การส่งข้อความหลอกลวงนับว่าเป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมจากกลุ่มมิจฉาชีพเนื่องจากสามารถเข้าถึงเหยื่อจำนวนมากด้วยต้นทุนต่ำ

ข้อมูลส่วนตัวที่รั่วไหลมักเป็นด่านแรกที่มิจฉาชีพใช้เข้าถึงรายละเอียดการติดต่อเพื่อหลอกลวงเหยื่อ ซึ่งการรั่วไหลอาจเกิดขึ้นจากฐานข้อมูลขององค์กรหรือรัฐบาลถูกโจมตีทางไซเบอร์ หรือเมื่อผู้ใช้กรอกแบบสำรวจ แบบทดสอบทางจิตวิทยา หรือแบบฟอร์มในเว็บไซต์ฟิชชิ่ง

ในประเทศไทย ความปลอดภัยไซเบอร์ ใครดูแล และดูแลได้จริงไหม?

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
187Article
76559Video
0Blog